Responsive image
เมนูหลัก
หน้าหลัก
เกี่ยวกับจังหวัด
ประวัติความเป็นมา
สภาพภูมิศาสตร์
สภาพสังคม
สภาพทางเศรษฐกิจ
สินค้า OTOP
สถานที่สำคัญ/แหล่งท่องเที่ยว
เกี่ยวกับเรา
วิสัยทัศน์/พันธกิจ
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา
โครงสร้างส่วนราชการ
บทบาทหน้าที่
บุคลากร
ผู้บริหาร
ฝ่ายบริหารทั่วไป
กลุ่มงานมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น
กลุ่มงานกฎหมายระเบียบและเรื่องร้องทุกข์
กลุ่มงานการเงินบัญชีและการตรวจสอบ
บุคลากรท้องถิ่นอำเภอ
กลุ่มงานบริการสาธารณะท้องถิ่นและประสานงานท้องถิ่นอำเภอ
ท้องถิ่นอำเภอ
ข่าวสาร
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ข่าวกิจกรรม
ปฏิทินกิจกรรม
ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสาร
ITA อปท.
ITA ปี พ.ศ. 2563
ข่าวสารเครือข่าย
ข่าวประชาสัมพันธ์เครือข่าย
ข่าวกิจกรรมเครือข่าย
ปฏิทินกิจกรรมเครือข่าย
ข่าวรับสมัครโอน/ย้ายเครือข่าย
สินค้า OTOP เครือข่าย
หนังสือราชการ สถ.จ.
ระเบียบ กฎหมาย หนังสือสั่งการ
หนังสือสั่งการ สถ.
พ.ร.บ./พ.ร.ฎ.
กฎ/ระเบียบ
คำสั่ง สถ.
มติ ก.อบจ.
มติ ก.เทศบาล
มติ ก. อบต.
ข้อบัญญัติ
รายรับรายจ่าย อปท.
ประกาศ ก.จังหวัดอุดรธานี
ก.อบจ.จังหวัดอุดรธานี
ก.เทศบาล จังหวัดอุดรธานี
ก.อบต.จังหวัดอุดรธานี
เว็บบอร์ด
พูดคุยเรื่องทั่วไป
ข้อเสนอแนะ ติชม
รับเรื่องราวร้องทุกข์
เว็บบอร์ดเครือข่าย
ติดต่อเรา
ติดต่อเรา
ระบบบัญชีข้อมูลจังหวัด






หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สถานที่สำคัญ/แหล่งท่องเที่ยว
วัดป่าคำชะโนด อำเภอบ้านดุง
Responsive image
คำชะโนด ตำนานกล่าวว่า เมืองคำชะโนดนี้ได้เล่าขานสืบต่อกันมารุ่นแล้วรุ่นเล่า จนถึงปัจจุบัน เมืองคำชะโนดตั้งอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวเมืองอำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ปัจจุบันอยู่ในเขตพื้นที่บ้านโนนเมืองหมู่ที่ 11 ตำบลบ้านม่วง อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ซึ่งได้มีผู้คนย้ายถิ่นที่อยู่มาอาศัยเดิม เดินทางมาก่อสร้างครอบครัวที่บ้านโนนเมือง ระยะทางห่างจากอำเภอบ้านดุงประมาณ 21 กิโลเมตร พื้นที่รอบๆบริเวณเป็นแหล่งน้ำคลำ มีต้นไม้เกิดขึ้นภายในบริเวณเนื้อที่ประมาณ 20 ไร่ ต้นไม้ชนิดนี้เรียกว่าต้นชะโนด มีลักษณะพิเศษคล้ายต้นตาล แต่ขนาดลำต้นสูงยาวเรียวเล็กกว่าต้นตาล ขนาดก็พอๆกับต้นมะพร้าว ก้านใบจะมีหนามแหลมยาวคม ใบจะมีลักษณะคล้ายใบตาล เวลาต้องลมจะเกิดเสียงและวังเวง ต้นชะโนดมีผลเป็นพวงลูกเล็กเท่าพวงองุ่นเล็ก บริโภคไม่ได้ ถ้าบริโภคจะมีอาการคันปาก ต้นชะโนดเป็นพืชที่เกิดจากธรรมชาตินับเป็นเวลาหลายพันปีคนรุ่นเก่าก่อนได้เรียกพืชชนิดนี้สืบทอดกันมาเรียกว่า ต้นชะโนด และเชื่อว่าเมืองชะโนด สันนิษฐานว่าคงจะเรียกตามชื่อต้นชะโนด  สามารถมาท่องเที่ยวได้ทุกฤดูกาล
   
โพสเมื่อ : 08 ม.ค. 2566